ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น

ThaiSEOBoard.comความรู้ทั่วไปGeneral (ถามคุยวิชาการ IM)ว่าด้วยเรื่องจดทะเบียนการค้าอีเลกโทนิก
หน้า: [1]   ลงล่าง
พิมพ์
ผู้เขียน หัวข้อ: ว่าด้วยเรื่องจดทะเบียนการค้าอีเลกโทนิก  (อ่าน 1339 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
binknon7
หัวหน้าแก๊งเสียว
*

พลังน้ำใจ: 549
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,039



ดูรายละเอียด
« เมื่อ: 13 สิงหาคม 2012, 17:46:55 »

สม่ทราบว่ามีท่านไหนจะแล้วบ้างครับ แล้วมีกฎว่ายังไงบ้างหรอครับ เหนเข้าบอกต้องเสียภาษีจิงไหมเอ่ยรบกวนแนะนำหน่อยนะครับผม wanwan031
บันทึกการเข้า
JeffyPluS
Verified Seller
เจ้าพ่อบอร์ดเสียว
*

พลังน้ำใจ: 236
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3,135



ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #1 เมื่อ: 13 สิงหาคม 2012, 18:59:35 »

หลักการขอจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ดังนั้น จะเห็นว่า ความเชื่อถือและเชื่อมั่นดังกล่าว ถือเป็นสิ่งสำคัญในการดำเนินธุรกิจ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การที่จะช่วยกระตุ้นให้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้รับความแพร่หลายในประเทศไทย เกิดการทำธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้น จะต้องมีการสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้ประกอบการ ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดความมั่นใจในการตัดสินใจทำธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้น กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จึงได้กำหนดให้ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีสถานประกอบการตั้งอยู่ในประเทศไทย ต้องมา จดทะเบียนพาณิชย์ เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถตรวจสอบการมีตัวตนของผู้ประกอบการได้ว่า ผู้ประกอบการมี ตัวตนจริงหรือไม่ เป็นใคร อยู่ที่ไหน ทำธุรกรรมอะไรบ้าง


ประโยชน์ของการจดทะเบียน
สร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้ประกอบการในระดับหนึ่ง โดยกรมฯ จะจัดทำเลขทะเบียน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (เครื่องหมาย Registered) จัดส่งให้แก่ผู้ประกอบการ (ส่งทางe-Mail ในรูปแบบ Source Code) เพื่อให้ผู้ประกอบการนำไปแสดงไว้บน Web Site หรือ Home Page เพื่อแสดงว่าได้ จดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าแล้ว เมื่อผู้บริโภค (ผู้ซื้อ) เห็นเครื่องหมาย Registered แล้ว จะเกิดความมั่นใจในการทำธุรกรรมเพิ่มมากขึ้น โดยเมื่อ click ที่เลขทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบจะเชื่อมโยงมายังฐานข้อมูลกรมฯ และแสดงข้อมูลทางทะเบียนของผู้ประกอบการ เพื่อให้ ประชาชนสามารถตรวจสอบสถานะและการมีตัวตนของผู้ประกอบการได้
 

กรมฯ จะนำรายชื่อเว็บไซต์ที่ขึ้นทะเบียน มาจัดทำเป็นฐานข้อมูล แยกตามประเภทธุรกิจ (www.dbd.go.th/edirectory ) นำไปเผยแพร่แก่ผู้ประกอบการและประชาชนผู้สนใจผ่านสื่อต่าง ๆ เพื่อเป็นการช่วยเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้แก่ผู้ประกอบการอีกทางหนึ่ง
ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่จดทะเบียนแล้ว สามารถยื่นขอใช้เครื่อง หมายรับรองความน่าเชื่อถือ (Trustmark) จากกรมฯ ได้ ซึ่งเครื่องหมาย Trustmark นี้จะมีความ น่าเชื่อถือสูงกว่าเครื่องหมาย Registered กล่าวคือ จะออกให้แก่เว็บไซต์ที่มีคุณสมบัติตามที่กรมฯ กำหนด เท่านั้น เพื่อเป็นการยกระดับผู้ประกอบการของไทยให้เป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ (www.trustmarkthai.com )
 

การได้รับสิทธิพิเศษต่าง ๆ เช่น การเข้าร่วมการอบรมสัมมนา การได้รับคำแนะนำ และการได้รับข้อมูลข่าวสารด้านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ผู้มีหน้าที่จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์คือ บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลที่มีสถานประกอบการตั้งอยู่ในประเทศไทย ซึ่งประกอบพาณิชยกิจในเชิงพาณิชย์อันเป็นอาชีพปกติ ดังนี้     -  ซื้อขายสินค้าหรือบริการ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้แก่ บุคคลที่มีเว็บไซต์เพื่อทำการซื้อขายสินค้าหรือบริการ บริการอินเทอร์เน็ต (ISP : Internet Service Provider)     - ให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Web Hosting)            - บริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ โดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (e-Marketplace)


เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการจดทะเบียน

คำขอจดทะเบียนพาณิชย์ (แบบ ทพ.) และ รายละเอียดเกี่ยวกับเว็บไซต์ (เอกสารแนบ )‏
สำเนาบัตรประจำตัว กรณีบุคคลธรรมดา ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน กรณีนิติบุคคล ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวผู้จัดการของห้างหุ้นส่วน หรือของกรรมการผู้มีอำนาจของบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัด (ไม่ต้องแนบหนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล)
หนังสือมอบอำนาจ (ถ้ามี)
หนังสือชี้แจง (กรณียื่นล่าช้าหรือเกินกำหนด)

ผู้มีหน้าที่จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์:
ซื้อขายสินค้าหรือบริการ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider : ISP)‏
ให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Web Hosting)‏
บริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ (e-Marketplace)‏

ตัวอย่างเว็บไซต์ที่เข่าข่ายต้องจดทะเบียน

มีระบบการสั่งซื้อ เช่น ระบบกรอกฟอร์ม ระบบตะกร้า e-mail หรืออื่น ๆ
มีระบบการชําระเงิน ออฟไลน์ หรือ ออนไลน์ เช่น การโอนเงินผ่านระบบบัญชี การชําระด้วยบัตรเครดิต หรือ e-cash เป็นต้น
มีระบบสมัครสมาชิก เพื่อรับบริการข้อมูลหรืออื่น ๆ โดยมีการคิดค่าใช้จ่าย (ถือเป็นการขายบริการ)
มีวัตถุที่ประสงค์หลักในการรับจ้างโฆษณาสินค้าหรือบริการของผู้อื่น และมีรายได้จากการโฆษณานั้น
รับจ้างออกแบบเว็บไซต์ หรือเพียงโฆษณาว่าเป็้นผู้รับจ้างออกแบบเว็บไซต์ (ถือว่าการออกแบบเว็บไซต์นั้นมีช่องทางการค้าปกติบนอินเทอร์เน็ต)

เว็บไซต์ให้บริการเกมส์ออนไลน์ที่คิดค้าบริการจากผู้เล่น (เจ้าของเว็บไซต์ต้องจดทะเบียน)
เว็บไซต์ที่มีการส่งมอบสินค้าหรือบริการผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น การ Download เพลง โปรแกรม เกมส์ Ringtone Screensaver SMS เป็นต้น

ตัวอย่างเว็บไซต์ที่ ไม่ต้องจดทะเบียน

มีเฉพาะหน้าร้านโชว์สินค้าของตนเอง แต่ทําการค้าในช่องทางปกติ (ไม่ใช้อินเทอร์เน็ต) แม้จะมีข้อความแจ้งว่าให้ติดต่อได้ เช่น สนใจโทร.ติดต่อ… หรือ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ …
การโฆษณาสินค้าของตนเอง โดยลักษณะของการโฆษณานั้นไม่ใช่วัตถุที่ประสงค์หลักของกิจการและไม่ใช่ช่องทางค้าปกติ แม้จะมี banner ของผู้อื่นมาติดและมีรายได้จาก banner ก็ตาม
การประชาสัมพันธหรือเผยแพร่ข้อมูลแก่สมาชิกหรือบุคคลทั่วไป โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย หรือ บริการ เช่น เพื่อการสอน ประกาศรับสมัครงาน

การประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท หรือสินค้า
เว็บไซต์ส่วนตัว (ส่วนบุคคล) ที่สร้างขึ้นเพื่อเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัว การงาน การศึกษา หรือความสนใจส่วนตัว
เว็บไซต์ที่เป็นสื่อกลางด้านข้อมูล โดยมีจุดประสงค์ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล โดยไม่มีการเสียค่าสมาชิกหรือค่าใช้จ่ายใด ๆ

สถานที่จดทะเบียน
ผู้ประกอบการที่มีสํานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคําขอจดทะเบียนพาณิชย็ต่อสํานักงานเขตต่าง ๆ และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
ผู้ประกอบการที่มีสํานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่จังหวัดอื่น นอกจากกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคําขอจดทะเบียนพาณิชย์ต่อองค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้น ๆ หรือ เมืองพัทยา แล้วแต่กรณี

http://www.thaiecommerce.org/i...&Id=539065770&Ntype=13

ส่วนเรื่องภาษี เป็นหน้าที่ ของผู้มีรายได้ครับ
บันทึกการเข้า


เว็บโฮสติ้ง แรง เร็ว เสถียร พร้อมดูแลทุกท่านคุณภาพการบริการเริ่มต้นเพียง 500.-/ปี
█ Tel 0810066690 | EVO VPS | EVO Hosting
VPS Hosting ประสิทธิภาพสูง แรง เร็ว เสถียร
LineOA : @hosting
SendEmailMKT
Newbie
*

พลังน้ำใจ: 2
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 30



ดูรายละเอียด
« ตอบ #2 เมื่อ: 13 สิงหาคม 2012, 19:30:07 »

ขอบคุณครับ
บันทึกการเข้า

บริการรับส่ง E-mail Marketing By SendEmailMKT.com
binknon7
หัวหน้าแก๊งเสียว
*

พลังน้ำใจ: 549
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,039



ดูรายละเอียด
« ตอบ #3 เมื่อ: 20 สิงหาคม 2012, 04:43:16 »

หลักการขอจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ดังนั้น จะเห็นว่า ความเชื่อถือและเชื่อมั่นดังกล่าว ถือเป็นสิ่งสำคัญในการดำเนินธุรกิจ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การที่จะช่วยกระตุ้นให้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้รับความแพร่หลายในประเทศไทย เกิดการทำธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้น จะต้องมีการสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้ประกอบการ ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดความมั่นใจในการตัดสินใจทำธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้น กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จึงได้กำหนดให้ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีสถานประกอบการตั้งอยู่ในประเทศไทย ต้องมา จดทะเบียนพาณิชย์ เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถตรวจสอบการมีตัวตนของผู้ประกอบการได้ว่า ผู้ประกอบการมี ตัวตนจริงหรือไม่ เป็นใคร อยู่ที่ไหน ทำธุรกรรมอะไรบ้าง


ประโยชน์ของการจดทะเบียน
สร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้ประกอบการในระดับหนึ่ง โดยกรมฯ จะจัดทำเลขทะเบียน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (เครื่องหมาย Registered) จัดส่งให้แก่ผู้ประกอบการ (ส่งทางe-Mail ในรูปแบบ Source Code) เพื่อให้ผู้ประกอบการนำไปแสดงไว้บน Web Site หรือ Home Page เพื่อแสดงว่าได้ จดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าแล้ว เมื่อผู้บริโภค (ผู้ซื้อ) เห็นเครื่องหมาย Registered แล้ว จะเกิดความมั่นใจในการทำธุรกรรมเพิ่มมากขึ้น โดยเมื่อ click ที่เลขทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบจะเชื่อมโยงมายังฐานข้อมูลกรมฯ และแสดงข้อมูลทางทะเบียนของผู้ประกอบการ เพื่อให้ ประชาชนสามารถตรวจสอบสถานะและการมีตัวตนของผู้ประกอบการได้
 

กรมฯ จะนำรายชื่อเว็บไซต์ที่ขึ้นทะเบียน มาจัดทำเป็นฐานข้อมูล แยกตามประเภทธุรกิจ (www.dbd.go.th/edirectory ) นำไปเผยแพร่แก่ผู้ประกอบการและประชาชนผู้สนใจผ่านสื่อต่าง ๆ เพื่อเป็นการช่วยเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้แก่ผู้ประกอบการอีกทางหนึ่ง
ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่จดทะเบียนแล้ว สามารถยื่นขอใช้เครื่อง หมายรับรองความน่าเชื่อถือ (Trustmark) จากกรมฯ ได้ ซึ่งเครื่องหมาย Trustmark นี้จะมีความ น่าเชื่อถือสูงกว่าเครื่องหมาย Registered กล่าวคือ จะออกให้แก่เว็บไซต์ที่มีคุณสมบัติตามที่กรมฯ กำหนด เท่านั้น เพื่อเป็นการยกระดับผู้ประกอบการของไทยให้เป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ (www.trustmarkthai.com )
 

การได้รับสิทธิพิเศษต่าง ๆ เช่น การเข้าร่วมการอบรมสัมมนา การได้รับคำแนะนำ และการได้รับข้อมูลข่าวสารด้านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ผู้มีหน้าที่จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์คือ บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลที่มีสถานประกอบการตั้งอยู่ในประเทศไทย ซึ่งประกอบพาณิชยกิจในเชิงพาณิชย์อันเป็นอาชีพปกติ ดังนี้     -  ซื้อขายสินค้าหรือบริการ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้แก่ บุคคลที่มีเว็บไซต์เพื่อทำการซื้อขายสินค้าหรือบริการ บริการอินเทอร์เน็ต (ISP : Internet Service Provider)     - ให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Web Hosting)            - บริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ โดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (e-Marketplace)


เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการจดทะเบียน

คำขอจดทะเบียนพาณิชย์ (แบบ ทพ.) และ รายละเอียดเกี่ยวกับเว็บไซต์ (เอกสารแนบ )‏
สำเนาบัตรประจำตัว กรณีบุคคลธรรมดา ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน กรณีนิติบุคคล ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวผู้จัดการของห้างหุ้นส่วน หรือของกรรมการผู้มีอำนาจของบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัด (ไม่ต้องแนบหนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล)
หนังสือมอบอำนาจ (ถ้ามี)
หนังสือชี้แจง (กรณียื่นล่าช้าหรือเกินกำหนด)

ผู้มีหน้าที่จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์:
ซื้อขายสินค้าหรือบริการ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider : ISP)‏
ให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Web Hosting)‏
บริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ (e-Marketplace)‏

ตัวอย่างเว็บไซต์ที่เข่าข่ายต้องจดทะเบียน

มีระบบการสั่งซื้อ เช่น ระบบกรอกฟอร์ม ระบบตะกร้า e-mail หรืออื่น ๆ
มีระบบการชําระเงิน ออฟไลน์ หรือ ออนไลน์ เช่น การโอนเงินผ่านระบบบัญชี การชําระด้วยบัตรเครดิต หรือ e-cash เป็นต้น
มีระบบสมัครสมาชิก เพื่อรับบริการข้อมูลหรืออื่น ๆ โดยมีการคิดค่าใช้จ่าย (ถือเป็นการขายบริการ)
มีวัตถุที่ประสงค์หลักในการรับจ้างโฆษณาสินค้าหรือบริการของผู้อื่น และมีรายได้จากการโฆษณานั้น
รับจ้างออกแบบเว็บไซต์ หรือเพียงโฆษณาว่าเป็้นผู้รับจ้างออกแบบเว็บไซต์ (ถือว่าการออกแบบเว็บไซต์นั้นมีช่องทางการค้าปกติบนอินเทอร์เน็ต)

เว็บไซต์ให้บริการเกมส์ออนไลน์ที่คิดค้าบริการจากผู้เล่น (เจ้าของเว็บไซต์ต้องจดทะเบียน)
เว็บไซต์ที่มีการส่งมอบสินค้าหรือบริการผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น การ Download เพลง โปรแกรม เกมส์ Ringtone Screensaver SMS เป็นต้น

ตัวอย่างเว็บไซต์ที่ ไม่ต้องจดทะเบียน

มีเฉพาะหน้าร้านโชว์สินค้าของตนเอง แต่ทําการค้าในช่องทางปกติ (ไม่ใช้อินเทอร์เน็ต) แม้จะมีข้อความแจ้งว่าให้ติดต่อได้ เช่น สนใจโทร.ติดต่อ… หรือ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ …
การโฆษณาสินค้าของตนเอง โดยลักษณะของการโฆษณานั้นไม่ใช่วัตถุที่ประสงค์หลักของกิจการและไม่ใช่ช่องทางค้าปกติ แม้จะมี banner ของผู้อื่นมาติดและมีรายได้จาก banner ก็ตาม
การประชาสัมพันธหรือเผยแพร่ข้อมูลแก่สมาชิกหรือบุคคลทั่วไป โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย หรือ บริการ เช่น เพื่อการสอน ประกาศรับสมัครงาน

การประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท หรือสินค้า
เว็บไซต์ส่วนตัว (ส่วนบุคคล) ที่สร้างขึ้นเพื่อเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัว การงาน การศึกษา หรือความสนใจส่วนตัว
เว็บไซต์ที่เป็นสื่อกลางด้านข้อมูล โดยมีจุดประสงค์ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล โดยไม่มีการเสียค่าสมาชิกหรือค่าใช้จ่ายใด ๆ

สถานที่จดทะเบียน
ผู้ประกอบการที่มีสํานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคําขอจดทะเบียนพาณิชย็ต่อสํานักงานเขตต่าง ๆ และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
ผู้ประกอบการที่มีสํานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่จังหวัดอื่น นอกจากกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคําขอจดทะเบียนพาณิชย์ต่อองค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้น ๆ หรือ เมืองพัทยา แล้วแต่กรณี

http://www.thaiecommerce.org/i...&Id=539065770&Ntype=13

ส่วนเรื่องภาษี เป็นหน้าที่ ของผู้มีรายได้ครับ


ขอบคุณมากๆเลยรรับ
บันทึกการเข้า
CMSHostThailand
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #4 เมื่อ: 20 สิงหาคม 2012, 06:46:19 »

หลักการขอจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ดังนั้น จะเห็นว่า ความเชื่อถือและเชื่อมั่นดังกล่าว ถือเป็นสิ่งสำคัญในการดำเนินธุรกิจ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การที่จะช่วยกระตุ้นให้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้รับความแพร่หลายในประเทศไทย เกิดการทำธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้น จะต้องมีการสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้ประกอบการ ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดความมั่นใจในการตัดสินใจทำธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้น กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จึงได้กำหนดให้ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีสถานประกอบการตั้งอยู่ในประเทศไทย ต้องมา จดทะเบียนพาณิชย์ เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถตรวจสอบการมีตัวตนของผู้ประกอบการได้ว่า ผู้ประกอบการมี ตัวตนจริงหรือไม่ เป็นใคร อยู่ที่ไหน ทำธุรกรรมอะไรบ้าง


ประโยชน์ของการจดทะเบียน
สร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้ประกอบการในระดับหนึ่ง โดยกรมฯ จะจัดทำเลขทะเบียน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (เครื่องหมาย Registered) จัดส่งให้แก่ผู้ประกอบการ (ส่งทางe-Mail ในรูปแบบ Source Code) เพื่อให้ผู้ประกอบการนำไปแสดงไว้บน Web Site หรือ Home Page เพื่อแสดงว่าได้ จดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าแล้ว เมื่อผู้บริโภค (ผู้ซื้อ) เห็นเครื่องหมาย Registered แล้ว จะเกิดความมั่นใจในการทำธุรกรรมเพิ่มมากขึ้น โดยเมื่อ click ที่เลขทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบจะเชื่อมโยงมายังฐานข้อมูลกรมฯ และแสดงข้อมูลทางทะเบียนของผู้ประกอบการ เพื่อให้ ประชาชนสามารถตรวจสอบสถานะและการมีตัวตนของผู้ประกอบการได้
 

กรมฯ จะนำรายชื่อเว็บไซต์ที่ขึ้นทะเบียน มาจัดทำเป็นฐานข้อมูล แยกตามประเภทธุรกิจ (www.dbd.go.th/edirectory ) นำไปเผยแพร่แก่ผู้ประกอบการและประชาชนผู้สนใจผ่านสื่อต่าง ๆ เพื่อเป็นการช่วยเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้แก่ผู้ประกอบการอีกทางหนึ่ง
ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่จดทะเบียนแล้ว สามารถยื่นขอใช้เครื่อง หมายรับรองความน่าเชื่อถือ (Trustmark) จากกรมฯ ได้ ซึ่งเครื่องหมาย Trustmark นี้จะมีความ น่าเชื่อถือสูงกว่าเครื่องหมาย Registered กล่าวคือ จะออกให้แก่เว็บไซต์ที่มีคุณสมบัติตามที่กรมฯ กำหนด เท่านั้น เพื่อเป็นการยกระดับผู้ประกอบการของไทยให้เป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ (www.trustmarkthai.com )
 

การได้รับสิทธิพิเศษต่าง ๆ เช่น การเข้าร่วมการอบรมสัมมนา การได้รับคำแนะนำ และการได้รับข้อมูลข่าวสารด้านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ผู้มีหน้าที่จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์คือ บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลที่มีสถานประกอบการตั้งอยู่ในประเทศไทย ซึ่งประกอบพาณิชยกิจในเชิงพาณิชย์อันเป็นอาชีพปกติ ดังนี้     -  ซื้อขายสินค้าหรือบริการ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้แก่ บุคคลที่มีเว็บไซต์เพื่อทำการซื้อขายสินค้าหรือบริการ บริการอินเทอร์เน็ต (ISP : Internet Service Provider)     - ให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Web Hosting)            - บริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ โดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (e-Marketplace)


เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการจดทะเบียน

คำขอจดทะเบียนพาณิชย์ (แบบ ทพ.) และ รายละเอียดเกี่ยวกับเว็บไซต์ (เอกสารแนบ )‏
สำเนาบัตรประจำตัว กรณีบุคคลธรรมดา ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน กรณีนิติบุคคล ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวผู้จัดการของห้างหุ้นส่วน หรือของกรรมการผู้มีอำนาจของบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัด (ไม่ต้องแนบหนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล)
หนังสือมอบอำนาจ (ถ้ามี)
หนังสือชี้แจง (กรณียื่นล่าช้าหรือเกินกำหนด)

ผู้มีหน้าที่จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์:
ซื้อขายสินค้าหรือบริการ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider : ISP)‏
ให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Web Hosting)‏
บริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ (e-Marketplace)‏

ตัวอย่างเว็บไซต์ที่เข่าข่ายต้องจดทะเบียน

มีระบบการสั่งซื้อ เช่น ระบบกรอกฟอร์ม ระบบตะกร้า e-mail หรืออื่น ๆ
มีระบบการชําระเงิน ออฟไลน์ หรือ ออนไลน์ เช่น การโอนเงินผ่านระบบบัญชี การชําระด้วยบัตรเครดิต หรือ e-cash เป็นต้น
มีระบบสมัครสมาชิก เพื่อรับบริการข้อมูลหรืออื่น ๆ โดยมีการคิดค่าใช้จ่าย (ถือเป็นการขายบริการ)
มีวัตถุที่ประสงค์หลักในการรับจ้างโฆษณาสินค้าหรือบริการของผู้อื่น และมีรายได้จากการโฆษณานั้น
รับจ้างออกแบบเว็บไซต์ หรือเพียงโฆษณาว่าเป็้นผู้รับจ้างออกแบบเว็บไซต์ (ถือว่าการออกแบบเว็บไซต์นั้นมีช่องทางการค้าปกติบนอินเทอร์เน็ต)

เว็บไซต์ให้บริการเกมส์ออนไลน์ที่คิดค้าบริการจากผู้เล่น (เจ้าของเว็บไซต์ต้องจดทะเบียน)
เว็บไซต์ที่มีการส่งมอบสินค้าหรือบริการผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น การ Download เพลง โปรแกรม เกมส์ Ringtone Screensaver SMS เป็นต้น

ตัวอย่างเว็บไซต์ที่ ไม่ต้องจดทะเบียน

มีเฉพาะหน้าร้านโชว์สินค้าของตนเอง แต่ทําการค้าในช่องทางปกติ (ไม่ใช้อินเทอร์เน็ต) แม้จะมีข้อความแจ้งว่าให้ติดต่อได้ เช่น สนใจโทร.ติดต่อ… หรือ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ …
การโฆษณาสินค้าของตนเอง โดยลักษณะของการโฆษณานั้นไม่ใช่วัตถุที่ประสงค์หลักของกิจการและไม่ใช่ช่องทางค้าปกติ แม้จะมี banner ของผู้อื่นมาติดและมีรายได้จาก banner ก็ตาม
การประชาสัมพันธหรือเผยแพร่ข้อมูลแก่สมาชิกหรือบุคคลทั่วไป โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย หรือ บริการ เช่น เพื่อการสอน ประกาศรับสมัครงาน

การประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท หรือสินค้า
เว็บไซต์ส่วนตัว (ส่วนบุคคล) ที่สร้างขึ้นเพื่อเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัว การงาน การศึกษา หรือความสนใจส่วนตัว
เว็บไซต์ที่เป็นสื่อกลางด้านข้อมูล โดยมีจุดประสงค์ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล โดยไม่มีการเสียค่าสมาชิกหรือค่าใช้จ่ายใด ๆ

สถานที่จดทะเบียน
ผู้ประกอบการที่มีสํานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคําขอจดทะเบียนพาณิชย็ต่อสํานักงานเขตต่าง ๆ และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
ผู้ประกอบการที่มีสํานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่จังหวัดอื่น นอกจากกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคําขอจดทะเบียนพาณิชย์ต่อองค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้น ๆ หรือ เมืองพัทยา แล้วแต่กรณี

http://www.thaiecommerce.org/i...&Id=539065770&Ntype=13

ส่วนเรื่องภาษี เป็นหน้าที่ ของผู้มีรายได้ครับ


ตามนี้ค่ะ
บันทึกการเข้า
chikage0
สมุนแก๊งเสียว
*

พลังน้ำใจ: 38
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 924



ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #5 เมื่อ: 20 สิงหาคม 2012, 09:37:39 »

ขอบคุณคะ
บันทึกการเข้า

อัลฟา
หัวหน้าแก๊งเสียว
*

พลังน้ำใจ: 125
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1,744



ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #6 เมื่อ: 20 สิงหาคม 2012, 10:18:18 »

หลักการขอจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ดังนั้น จะเห็นว่า ความเชื่อถือและเชื่อมั่นดังกล่าว ถือเป็นสิ่งสำคัญในการดำเนินธุรกิจ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การที่จะช่วยกระตุ้นให้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้รับความแพร่หลายในประเทศไทย เกิดการทำธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้น จะต้องมีการสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้ประกอบการ ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดความมั่นใจในการตัดสินใจทำธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้น กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จึงได้กำหนดให้ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีสถานประกอบการตั้งอยู่ในประเทศไทย ต้องมา จดทะเบียนพาณิชย์ เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถตรวจสอบการมีตัวตนของผู้ประกอบการได้ว่า ผู้ประกอบการมี ตัวตนจริงหรือไม่ เป็นใคร อยู่ที่ไหน ทำธุรกรรมอะไรบ้าง


ประโยชน์ของการจดทะเบียน
สร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้ประกอบการในระดับหนึ่ง โดยกรมฯ จะจัดทำเลขทะเบียน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (เครื่องหมาย Registered) จัดส่งให้แก่ผู้ประกอบการ (ส่งทางe-Mail ในรูปแบบ Source Code) เพื่อให้ผู้ประกอบการนำไปแสดงไว้บน Web Site หรือ Home Page เพื่อแสดงว่าได้ จดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าแล้ว เมื่อผู้บริโภค (ผู้ซื้อ) เห็นเครื่องหมาย Registered แล้ว จะเกิดความมั่นใจในการทำธุรกรรมเพิ่มมากขึ้น โดยเมื่อ click ที่เลขทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบจะเชื่อมโยงมายังฐานข้อมูลกรมฯ และแสดงข้อมูลทางทะเบียนของผู้ประกอบการ เพื่อให้ ประชาชนสามารถตรวจสอบสถานะและการมีตัวตนของผู้ประกอบการได้
 

กรมฯ จะนำรายชื่อเว็บไซต์ที่ขึ้นทะเบียน มาจัดทำเป็นฐานข้อมูล แยกตามประเภทธุรกิจ (www.dbd.go.th/edirectory ) นำไปเผยแพร่แก่ผู้ประกอบการและประชาชนผู้สนใจผ่านสื่อต่าง ๆ เพื่อเป็นการช่วยเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้แก่ผู้ประกอบการอีกทางหนึ่ง
ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่จดทะเบียนแล้ว สามารถยื่นขอใช้เครื่อง หมายรับรองความน่าเชื่อถือ (Trustmark) จากกรมฯ ได้ ซึ่งเครื่องหมาย Trustmark นี้จะมีความ น่าเชื่อถือสูงกว่าเครื่องหมาย Registered กล่าวคือ จะออกให้แก่เว็บไซต์ที่มีคุณสมบัติตามที่กรมฯ กำหนด เท่านั้น เพื่อเป็นการยกระดับผู้ประกอบการของไทยให้เป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ (www.trustmarkthai.com )
 

การได้รับสิทธิพิเศษต่าง ๆ เช่น การเข้าร่วมการอบรมสัมมนา การได้รับคำแนะนำ และการได้รับข้อมูลข่าวสารด้านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ผู้มีหน้าที่จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์คือ บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลที่มีสถานประกอบการตั้งอยู่ในประเทศไทย ซึ่งประกอบพาณิชยกิจในเชิงพาณิชย์อันเป็นอาชีพปกติ ดังนี้     -  ซื้อขายสินค้าหรือบริการ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้แก่ บุคคลที่มีเว็บไซต์เพื่อทำการซื้อขายสินค้าหรือบริการ บริการอินเทอร์เน็ต (ISP : Internet Service Provider)     - ให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Web Hosting)            - บริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ โดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (e-Marketplace)


เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการจดทะเบียน

คำขอจดทะเบียนพาณิชย์ (แบบ ทพ.) และ รายละเอียดเกี่ยวกับเว็บไซต์ (เอกสารแนบ )‏
สำเนาบัตรประจำตัว กรณีบุคคลธรรมดา ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน กรณีนิติบุคคล ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวผู้จัดการของห้างหุ้นส่วน หรือของกรรมการผู้มีอำนาจของบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัด (ไม่ต้องแนบหนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล)
หนังสือมอบอำนาจ (ถ้ามี)
หนังสือชี้แจง (กรณียื่นล่าช้าหรือเกินกำหนด)

ผู้มีหน้าที่จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์:
ซื้อขายสินค้าหรือบริการ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider : ISP)‏
ให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Web Hosting)‏
บริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ (e-Marketplace)‏

ตัวอย่างเว็บไซต์ที่เข่าข่ายต้องจดทะเบียน

มีระบบการสั่งซื้อ เช่น ระบบกรอกฟอร์ม ระบบตะกร้า e-mail หรืออื่น ๆ
มีระบบการชําระเงิน ออฟไลน์ หรือ ออนไลน์ เช่น การโอนเงินผ่านระบบบัญชี การชําระด้วยบัตรเครดิต หรือ e-cash เป็นต้น
มีระบบสมัครสมาชิก เพื่อรับบริการข้อมูลหรืออื่น ๆ โดยมีการคิดค่าใช้จ่าย (ถือเป็นการขายบริการ)
มีวัตถุที่ประสงค์หลักในการรับจ้างโฆษณาสินค้าหรือบริการของผู้อื่น และมีรายได้จากการโฆษณานั้น
รับจ้างออกแบบเว็บไซต์ หรือเพียงโฆษณาว่าเป็้นผู้รับจ้างออกแบบเว็บไซต์ (ถือว่าการออกแบบเว็บไซต์นั้นมีช่องทางการค้าปกติบนอินเทอร์เน็ต)

เว็บไซต์ให้บริการเกมส์ออนไลน์ที่คิดค้าบริการจากผู้เล่น (เจ้าของเว็บไซต์ต้องจดทะเบียน)
เว็บไซต์ที่มีการส่งมอบสินค้าหรือบริการผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น การ Download เพลง โปรแกรม เกมส์ Ringtone Screensaver SMS เป็นต้น

ตัวอย่างเว็บไซต์ที่ ไม่ต้องจดทะเบียน

มีเฉพาะหน้าร้านโชว์สินค้าของตนเอง แต่ทําการค้าในช่องทางปกติ (ไม่ใช้อินเทอร์เน็ต) แม้จะมีข้อความแจ้งว่าให้ติดต่อได้ เช่น สนใจโทร.ติดต่อ… หรือ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ …
การโฆษณาสินค้าของตนเอง โดยลักษณะของการโฆษณานั้นไม่ใช่วัตถุที่ประสงค์หลักของกิจการและไม่ใช่ช่องทางค้าปกติ แม้จะมี banner ของผู้อื่นมาติดและมีรายได้จาก banner ก็ตาม
การประชาสัมพันธหรือเผยแพร่ข้อมูลแก่สมาชิกหรือบุคคลทั่วไป โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย หรือ บริการ เช่น เพื่อการสอน ประกาศรับสมัครงาน

การประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท หรือสินค้า
เว็บไซต์ส่วนตัว (ส่วนบุคคล) ที่สร้างขึ้นเพื่อเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัว การงาน การศึกษา หรือความสนใจส่วนตัว
เว็บไซต์ที่เป็นสื่อกลางด้านข้อมูล โดยมีจุดประสงค์ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล โดยไม่มีการเสียค่าสมาชิกหรือค่าใช้จ่ายใด ๆ

สถานที่จดทะเบียน
ผู้ประกอบการที่มีสํานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคําขอจดทะเบียนพาณิชย็ต่อสํานักงานเขตต่าง ๆ และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
ผู้ประกอบการที่มีสํานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่จังหวัดอื่น นอกจากกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคําขอจดทะเบียนพาณิชย์ต่อองค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้น ๆ หรือ เมืองพัทยา แล้วแต่กรณี

http://www.thaiecommerce.org/i...&Id=539065770&Ntype=13

ส่วนเรื่องภาษี เป็นหน้าที่ ของผู้มีรายได้ครับ
wanwan017
บันทึกการเข้า

฿ ใครกำลังมองหา Domain ราคาถูก!! ของ Goddady ในราคาเพียงแค่ 179.7 บาทเท่านั้นค่ะ คลิกเลย (:
@----------------------------------------------------------------------@
฿รับสมัคร Google Adsense สมัครแบบผ่าน 100% และ Acc ของมีคุณภาพด้วย รับประกันคุณภาพค่ะ ตอนนี้รับอีกแค่ 1 Acc เท่านั้นนะค่ะ มีรายงานการทำงานให้ดูด้วยค่ะPM!! (:
pongweb
เจ้าพ่อบอร์ดเสียว
*

พลังน้ำใจ: 278
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4,020



ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #7 เมื่อ: 20 สิงหาคม 2012, 10:21:15 »

หลักการขอจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ดังนั้น จะเห็นว่า ความเชื่อถือและเชื่อมั่นดังกล่าว ถือเป็นสิ่งสำคัญในการดำเนินธุรกิจ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การที่จะช่วยกระตุ้นให้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้รับความแพร่หลายในประเทศไทย เกิดการทำธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้น จะต้องมีการสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้ประกอบการ ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดความมั่นใจในการตัดสินใจทำธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้น กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จึงได้กำหนดให้ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีสถานประกอบการตั้งอยู่ในประเทศไทย ต้องมา จดทะเบียนพาณิชย์ เพื่อให้ผู้บริโภคสามารถตรวจสอบการมีตัวตนของผู้ประกอบการได้ว่า ผู้ประกอบการมี ตัวตนจริงหรือไม่ เป็นใคร อยู่ที่ไหน ทำธุรกรรมอะไรบ้าง


ประโยชน์ของการจดทะเบียน
สร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้ประกอบการในระดับหนึ่ง โดยกรมฯ จะจัดทำเลขทะเบียน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (เครื่องหมาย Registered) จัดส่งให้แก่ผู้ประกอบการ (ส่งทางe-Mail ในรูปแบบ Source Code) เพื่อให้ผู้ประกอบการนำไปแสดงไว้บน Web Site หรือ Home Page เพื่อแสดงว่าได้ จดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าแล้ว เมื่อผู้บริโภค (ผู้ซื้อ) เห็นเครื่องหมาย Registered แล้ว จะเกิดความมั่นใจในการทำธุรกรรมเพิ่มมากขึ้น โดยเมื่อ click ที่เลขทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบจะเชื่อมโยงมายังฐานข้อมูลกรมฯ และแสดงข้อมูลทางทะเบียนของผู้ประกอบการ เพื่อให้ ประชาชนสามารถตรวจสอบสถานะและการมีตัวตนของผู้ประกอบการได้
 

กรมฯ จะนำรายชื่อเว็บไซต์ที่ขึ้นทะเบียน มาจัดทำเป็นฐานข้อมูล แยกตามประเภทธุรกิจ (www.dbd.go.th/edirectory ) นำไปเผยแพร่แก่ผู้ประกอบการและประชาชนผู้สนใจผ่านสื่อต่าง ๆ เพื่อเป็นการช่วยเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้แก่ผู้ประกอบการอีกทางหนึ่ง
ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่จดทะเบียนแล้ว สามารถยื่นขอใช้เครื่อง หมายรับรองความน่าเชื่อถือ (Trustmark) จากกรมฯ ได้ ซึ่งเครื่องหมาย Trustmark นี้จะมีความ น่าเชื่อถือสูงกว่าเครื่องหมาย Registered กล่าวคือ จะออกให้แก่เว็บไซต์ที่มีคุณสมบัติตามที่กรมฯ กำหนด เท่านั้น เพื่อเป็นการยกระดับผู้ประกอบการของไทยให้เป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ (www.trustmarkthai.com )
 

การได้รับสิทธิพิเศษต่าง ๆ เช่น การเข้าร่วมการอบรมสัมมนา การได้รับคำแนะนำ และการได้รับข้อมูลข่าวสารด้านการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ผู้มีหน้าที่จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์คือ บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลที่มีสถานประกอบการตั้งอยู่ในประเทศไทย ซึ่งประกอบพาณิชยกิจในเชิงพาณิชย์อันเป็นอาชีพปกติ ดังนี้     -  ซื้อขายสินค้าหรือบริการ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้แก่ บุคคลที่มีเว็บไซต์เพื่อทำการซื้อขายสินค้าหรือบริการ บริการอินเทอร์เน็ต (ISP : Internet Service Provider)     - ให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Web Hosting)            - บริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ โดยวิธีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (e-Marketplace)


เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการจดทะเบียน

คำขอจดทะเบียนพาณิชย์ (แบบ ทพ.) และ รายละเอียดเกี่ยวกับเว็บไซต์ (เอกสารแนบ )‏
สำเนาบัตรประจำตัว กรณีบุคคลธรรมดา ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน กรณีนิติบุคคล ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวผู้จัดการของห้างหุ้นส่วน หรือของกรรมการผู้มีอำนาจของบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัด (ไม่ต้องแนบหนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล)
หนังสือมอบอำนาจ (ถ้ามี)
หนังสือชี้แจง (กรณียื่นล่าช้าหรือเกินกำหนด)

ผู้มีหน้าที่จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์:
ซื้อขายสินค้าหรือบริการ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider : ISP)‏
ให้เช่าพื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Web Hosting)‏
บริการเป็นตลาดกลางในการซื้อขายสินค้าหรือบริการ (e-Marketplace)‏

ตัวอย่างเว็บไซต์ที่เข่าข่ายต้องจดทะเบียน

มีระบบการสั่งซื้อ เช่น ระบบกรอกฟอร์ม ระบบตะกร้า e-mail หรืออื่น ๆ
มีระบบการชําระเงิน ออฟไลน์ หรือ ออนไลน์ เช่น การโอนเงินผ่านระบบบัญชี การชําระด้วยบัตรเครดิต หรือ e-cash เป็นต้น
มีระบบสมัครสมาชิก เพื่อรับบริการข้อมูลหรืออื่น ๆ โดยมีการคิดค่าใช้จ่าย (ถือเป็นการขายบริการ)
มีวัตถุที่ประสงค์หลักในการรับจ้างโฆษณาสินค้าหรือบริการของผู้อื่น และมีรายได้จากการโฆษณานั้น
รับจ้างออกแบบเว็บไซต์ หรือเพียงโฆษณาว่าเป็้นผู้รับจ้างออกแบบเว็บไซต์ (ถือว่าการออกแบบเว็บไซต์นั้นมีช่องทางการค้าปกติบนอินเทอร์เน็ต)

เว็บไซต์ให้บริการเกมส์ออนไลน์ที่คิดค้าบริการจากผู้เล่น (เจ้าของเว็บไซต์ต้องจดทะเบียน)
เว็บไซต์ที่มีการส่งมอบสินค้าหรือบริการผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น การ Download เพลง โปรแกรม เกมส์ Ringtone Screensaver SMS เป็นต้น

ตัวอย่างเว็บไซต์ที่ ไม่ต้องจดทะเบียน

มีเฉพาะหน้าร้านโชว์สินค้าของตนเอง แต่ทําการค้าในช่องทางปกติ (ไม่ใช้อินเทอร์เน็ต) แม้จะมีข้อความแจ้งว่าให้ติดต่อได้ เช่น สนใจโทร.ติดต่อ… หรือ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ …
การโฆษณาสินค้าของตนเอง โดยลักษณะของการโฆษณานั้นไม่ใช่วัตถุที่ประสงค์หลักของกิจการและไม่ใช่ช่องทางค้าปกติ แม้จะมี banner ของผู้อื่นมาติดและมีรายได้จาก banner ก็ตาม
การประชาสัมพันธหรือเผยแพร่ข้อมูลแก่สมาชิกหรือบุคคลทั่วไป โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย หรือ บริการ เช่น เพื่อการสอน ประกาศรับสมัครงาน

การประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท หรือสินค้า
เว็บไซต์ส่วนตัว (ส่วนบุคคล) ที่สร้างขึ้นเพื่อเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัว การงาน การศึกษา หรือความสนใจส่วนตัว
เว็บไซต์ที่เป็นสื่อกลางด้านข้อมูล โดยมีจุดประสงค์ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล โดยไม่มีการเสียค่าสมาชิกหรือค่าใช้จ่ายใด ๆ

สถานที่จดทะเบียน
ผู้ประกอบการที่มีสํานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคําขอจดทะเบียนพาณิชย็ต่อสํานักงานเขตต่าง ๆ และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
ผู้ประกอบการที่มีสํานักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่จังหวัดอื่น นอกจากกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคําขอจดทะเบียนพาณิชย์ต่อองค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้น ๆ หรือ เมืองพัทยา แล้วแต่กรณี

http://www.thaiecommerce.org/i...&Id=539065770&Ntype=13

ส่วนเรื่องภาษี เป็นหน้าที่ ของผู้มีรายได้ครับ


แบบนี้ทำ adsense/amazon ก็เข้าข่ายด้วยซิครับ  Tongue
บันทึกการเข้า

. . .
bluegamete
Newbie
*

พลังน้ำใจ: 1
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 34



ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #8 เมื่อ: 20 สิงหาคม 2012, 10:58:29 »

 wanwan016   การขอ Trade Mark ต้องจดทะเบียนมาแล้วไม่ต่ำกว่า 6 เดือนด้วยนะครับ  ไม่งั้นข้อมูลร้านค้าจะไม่แสดง
บันทึกการเข้า

Top10Perfume.com | น้ำหอมแบรนด์เนมแท้ 100% ลดราคาพิเศษ น้ำหอม CK น้ำหอม DKNY Gucci Paco Rabanne
HoroGuide.com | รีวิวหมอดูดัง หมอดูแม่น ดูดวง ตรวจดวงชะตา เสริมดวง ทำบุญ สะเดาะเคราะห์ แก้กรรม บทสวดมนต์ สาระเกี่ยวกับดวงชะตา พบกันได้
genuies
Newbie
*

พลังน้ำใจ: 0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 26



ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #9 เมื่อ: 20 สิงหาคม 2012, 10:58:53 »

 wanwan017

ขอคุณมากๆคับผม
บันทึกการเข้า
NeoSmith
สมุนแก๊งเสียว
*

พลังน้ำใจ: 71
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 791



ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #10 เมื่อ: 20 สิงหาคม 2012, 11:14:55 »

การจดทะเบียนการค้าอีเล็ดโทรนิคส์ ก็เหมือนกับการจดทะเบียนร้านค้า ทั่วๆ ไปนะครับ
ซึ่งแน่นอนว่า พอคุณจด ก็เท่ากับว่าคุณประกาศว่า คุณทำกิจการค้าขาย และแน่นอนว่า สรรพากร ย่อมตามมา  wanwan003 wanwan003
บันทึกการเข้า

ช่วยเหลือผู้ป่วยโรคเอดส์กับทางวัดพระบาทน้ำพุง่ายๆ ด้วยการโทร
1900 222 200
ครั้งละ 15 บาท
รับออกแบบ-เขียนแบบ บ้าน อาคารพานิชย์ อพาร์ทเมนท์ โรงงานฯ โดยทีมวิศวกรผู้ชำนาญงานมากว่า 30 ปี
หาเพื่อน,หาแฟน,หากิ๊ก นัดเพื่อน Line
หน้า: [1]   ขึ้นบน
พิมพ์